การ สั่น สะเทือน ทาง กล Mechanical Vibrations

  1. งานวัดและวิเคราะห์การสั่นสะเทือนแบบวิเคราะห์สเปกตรัม - Rapinstruments

นันทวัฒน์ วีระยุทธ 7 เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจหลักการการสั่นสะเทือนแบบบังคับของระบบหนึ่งระดับขั้นความเสรี ภายใต้แรงกระทำแบบฮาร์โมนิกส์ การสั่นสะเทือนแบบบังคับของระบบหนึ่งระดับขั้นความเสรี ภายใต้แรงกระทำแบบฮาร์โมนิกส์ - การตอบสนองของระบบที่เกิดจากการสั่นของฐาน - การส่งผ่านการเคลื่อนที่ 3 0 6 กิจกรรมการเรียนการสอน - บรรยายโดยผู้สอน - ทำแบบฝึกหัดในห้องเรียน สื่อการเรียนรู้ - ภาพนิ่ง PowerPoint - ภาพเคลื่อนไหว - แบบฝึกหัด - ใบความรู้/เอกสารประกอบการสอน - การให้งานกลุ่ม - ทดสอบย่อย - แบบฝึกหัด - การบ้าน - การถามตอบ - การสังเกตจากการตอบคำถาม - รายงาน และการนำเสนองานกลุ่ม ดร. นันทวัฒน์ วีระยุทธ 8 เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจหลักการการสั่นสะเทือนแบบบังคับของระบบหนึ่งระดับขั้นความเสรี ภายใต้แรงกระทำแบบฮาร์โมนิกส์ การสั่นสะเทือนแบบบังคับของระบบหนึ่งระดับขั้นความเสรี ภายใต้แรงกระทำแบบฮาร์โมนิกส์ - การส่งผ่านแรงของระบบ - การสั่นเนื่องจากมวลหมุนที่ไม่สมดุล - การลดการสั่นสะเทือน 3 0 6 กิจกรรมการเรียนการสอน - บรรยายโดยผู้สอน - ทำแบบฝึกหัดในห้องเรียน สื่อการเรียนรู้ - ภาพนิ่ง PowerPoint - ภาพเคลื่อนไหว - แบบฝึกหัด - ใบความรู้/เอกสารประกอบการสอน - ทดสอบย่อย - แบบฝึกหัด - การบ้าน - การถามตอบ - การสังเกตจากการตอบคำถาม ดร.

งานวัดและวิเคราะห์การสั่นสะเทือนแบบวิเคราะห์สเปกตรัม - Rapinstruments

อาร์เอพี เอ็นเตอร์ไพรส์ แอนด์ เซอร์วิสเซส เราเป็นผู้ให้บริการด้านการตรวจวัดการ และ วิเคราะห์สัญญาณการสั่นสะเทือน แบบ FFT ด้วยบุคลากรที่ผ่านการฝึกอบรม ด้านการวัดและวิเคราะห์สัญญาณการสั่นสะเทือน และมีประสบการณ์ด้านงานวัดและวิเคราะห์การสั่นสะเทือน ในหลากหลายอุตสาหกรรม อาทิ อุตสาหกรรมผลิตไฟฟ้า, อุตสาหกรรมปิโตรเคมี, อุตสาหกรรมอาหาร, อุตสาหกรรมยา เป็นต้น โดยเครื่องมือวัดการสั่นสะเทือนแบบ FFT คือเครื่องมือวัดที่สามารถวินิจฉัยอาการความเสียหายของเครื่องจักร อาทิ 1. การเสียสมดุลของเครื่องจักร (unbalance) 2. การเยื้องศูนย์เพลา (shaft misalignment) 3. การเยื้องศูนย์ของพูเล่หรือสายพาน (pulley or belt misalignment) 4. การหลวมคลอนทางกล (mechanical looseness) 5. การเสียหายของแบริ่ง (bearing fault analysis) 6. รีโซแนนซ์ (resonance) 7. การหล่อลื่นไม่เหมาะสม (lubrication) 8. การเกิดคาวิเตชั่นในปั๊ม (cavitation) 9. ความผิดปกติของฟันเกียร์ และ ชุดเกียร์ (gear fault analysis) 10.

  • ราคา เก้าอี้บาร์ ที่ถูกที่สุดในประเทศไทย มีให้เลือกอีกมากมาย ก.ค. 2021
  • งานVray 3.4 sketchup render settings exterior, การจ้างงาน | Freelancer
  • รถ ตก เหว ที่ ลาว
  • Toyota supra 2020 ราคา ใน ไทย price
  • แอ ค เน่ เจ ล แต้ม สิว
  • อา ร์ ท ท่อ ซิ่ง pantip 201
  • Bass box nxs 10 ราคา pro
  • หูฟัง Vivo ของแท้ ถูกที่สุด พร้อมโปรโมชั่น - ก.ค. 2021 | BigGo เช็คราคาง่ายๆ
  • ดู หนัง ผี ชน โรง

นันทวัฒน์ วีระยุทธ 14 เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจหลักการการสั่นสะเทือนของระบบที่มีหลายระดับขั้นความเสรี - ปัญหาค่าเฉพาะของระบบการสั่นทางวิศวกรรม - ผลเฉลยของปัญหาค่าเฉพาะ - การสั่นแบบอิสระของระบบไม่มีความหน่วงและระบบที่มีความหน่วง - การสั่นแบบบังคับของระบบไม่มีความหน่วงและ ระบบที่มีความหน่วง 3 0 6 กิจกรรมการเรียนการสอน - บรรยายโดยผู้สอน - ทำแบบฝึกหัดในห้องเรียน สื่อการเรียนรู้ - ภาพนิ่ง PowerPoint - ภาพเคลื่อนไหว - แบบฝึกหัด - ใบความรู้/เอกสารประกอบการสอน - ทดสอบย่อย - แบบฝึกหัด - การบ้าน - การถามตอบ - การสังเกตจากการตอบคำถาม ดร. นันทวัฒน์ วีระยุทธ 15 เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจหลักการการสั่นสะเทือนของระบบต่อเนื่อง การสั่นสะเทือนของระบบต่อเนื่อง - การสั่นสะเทือนตามขวางของเส้นลวดหรือสายเคเบิล - การสั่นสะเทือนอิสระตามยาวของก้าน - การสั่นสะเทือนอิสระแบบบิดของเพลา - การสั่นสะเทือนอิสระตามขวางของคาน 3 0 6 กิจกรรมการเรียนการสอน - บรรยายโดยผู้สอน - ทำแบบฝึกหัดในห้องเรียน สื่อการเรียนรู้ - ภาพนิ่ง PowerPoint - ภาพเคลื่อนไหว - แบบฝึกหัด - ใบความรู้/เอกสารประกอบการสอน - ทดสอบย่อย - แบบฝึกหัด - การบ้าน - การถามตอบ - การสังเกตจากการตอบคำถาม ดร.

6, 5. 4 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-15 5% 1. 10, 3. 5, 4. 4 การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน 1-15 5% 1. 9, 2. 6, 4. 5 การทดสอบย่อย 4 ครั้ง 4, 6, 8, 10 10% 1. 5 การสอบกลางภาค 8 35% 1. 4, 5. 8 การนำเสนองาน/การรายงาน 14 10% 1. 5 การสอบปลายภาค 16 35% รวม 100%

Displacement หรือ ระยะทางที่เครื่องจักรเคลื่อนที่ในแต่ละรอบจากจุดหนึ่งไปอีกจุดหนึ่ง (Peak to Peak) หน่วยที่นิยมใช้เป็นหน่วยความยาวระบบเมตริก (mm. หรือ cm. ) และ ระบบอเมริกัน (inch) เหมาะสำหรับการวัด Vibration ในช่วงความถี่ต่ำกว่า 10Hz หรือ 600 RPM(รอบต่อนาที) โดยตารางด้านล่างเป็นตารางวิเคราะค่า Displacement สำหรับเครื่องจักรแต่ละ Class locity หรือ ความเร็วในการสั่น หมายถึงความเร็วที่เครื่องจักร หรือวัตถุสั่นในแต่ละรอบ มีหน่วยเป็น mm. /sec, cm/sec, inch/sec โดยพิจารณาเป็นค่า RMS (Root Mean Square) วิธีการนี้เหมาะสำหรับการตรวจสอบความสั่นสะเทือนที่ความถี่ต่ำถึงป่นกลาง 10hz ไปจนถึง 1000hz โดยตารางด้านล่างเป็นตารางวิเคราะค่า Velocity สำหรับเครื่องจักรแต่ละ Class celeration หรือความเร่ง อัตราการเปลี่ยนแปลงความเร็วของความสั่นสะเทือนมีหน่วยเป็น mm/s2, m/s2, ft/s2 เหมาะสำหรับการวัดในช่วงที่มีความถี่สูงตั้งแต่ 1000hz หรือ 60000 rpm การติดตั้งหัววัด เครื่องวัดความสั่นสะเทือน ตำแหน่งในการติดตั้งหัววัดเครื่องวัดความสั่นสะเทือนจะติดอยู่ 3 ตำแหน่ง นั่นคือ 1. จุดวัดในแนวแกน (Axial, A) หรือแนวเดียวกับแกนเพลานั่นเอง 2.

หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล 1.

จุดวัดในแนวนอน (Horizontal, H) หรือแนวขนานกับพื้น 3. จุดวัดในแนวตั้ง (Vertical, V) หรือแนวตั้งฉากกับพื้น เทคนิคการตรวจสอบการสั่นสะเทือน Proximity Monitoring 1. วัด 1 จุด หรือมากกว่าในระบบ 2. ติดตั้งตัววัดในแต่ละแบริ่ง เพื่อวัดระยะห่างระหว่างแกนหมุนกับแบริ่ง 3. ตรวจสอบค่าสั่นสะเทือนรวมตลอดเวลาว่าปลอดภัยหรือไม่ 4. วัดเฟสได้ 5. ทราบว่ามวลกระจายที่ทำให้ไม่สมดุลอยู่ตำแหน่งใด 6. เหมาะกับเครื่องจักรขนาดใหญ่และความสำคัญสูง Seismic Monitoring 1. ติดตั้งเซนเซอร์ที่ผิวด้านนอกของแบริ่งส่วนที่อยู่กับที่ 2. วัด absolute vibration 3. ใช้ในทางปฏิบัติมากที่สุด อ้างอิง วามสั่นสะเทือน-vibration

นันทวัฒน์ วีระยุทธ 2 เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจเรื่องพลังงานและระบบสมมูลทางกล พลังงานและระบบสมมูลทางกล - สปริงและตัวหน่วง - การต่อสปริงและตัวหน่วงแบบอนุกรมและแบบขนาน - พลังงานศักย์ พลังงานจลน์และระบบสมมูลทางกล 3 0 6 กิจกรรมการเรียนการสอน - บรรยายโดยผู้สอน - ทำแบบฝึกหัดในห้องเรียน สื่อการเรียนรู้ - ภาพนิ่ง PowerPoint - ภาพเคลื่อนไหว - แบบฝึกหัด - ใบความรู้/เอกสารประกอบการสอน - ทดสอบย่อย - แบบฝึกหัด - การบ้าน - การถามตอบ - การสังเกตจากการตอบคำถาม ดร. นันทวัฒน์ วีระยุทธ 3 เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจหลักการการเคลื่อนที่แบบฮาร์โมนิกส์อย่างง่าย การเคลื่อนที่แบบฮาร์โมนิกส์อย่างง่าย - นิยามสำคัญ - การวิเคราะห์การเคลื่อนที่แบบฮาร์โมนิกส์ - จำนวนเชิงซ้อนและเวคเตอร์ - ฟังค์ชันคู่และฟังค์ชันคี่ - การเคลื่อนที่เป็นคาบและอนุกรมฟูเรียร์ 3 0 6 กิจกรรมการเรียนการสอน - บรรยายโดยผู้สอน - ทำแบบฝึกหัดในห้องเรียน สื่อการเรียนรู้ - ภาพนิ่ง PowerPoint - ภาพเคลื่อนไหว - แบบฝึกหัด - ใบความรู้/เอกสารประกอบการสอน - ทดสอบย่อย - แบบฝึกหัด - การบ้าน - การถามตอบ - การสังเกตจากการตอบคำถาม ดร. นันทวัฒน์ วีระยุทธ 4 เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจหลักการการสั่นอิสระของระบบหนึ่งระดับขั้นความเสรี การสั่นอิสระของระบบหนึ่งระดับขั้นความเสรี - สมการการเคลื่อนที่ - กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน - วิธีพลังงาน - สมการการเคลื่อนที่และความถี่ธรรมชาติของระบบต่างๆ 3 0 6 กิจกรรมการเรียนการสอน - บรรยายโดยผู้สอน - ทำแบบฝึกหัดในห้องเรียน สื่อการเรียนรู้ - ภาพนิ่ง PowerPoint - ภาพเคลื่อนไหว - แบบฝึกหัด - ใบความรู้/เอกสารประกอบการสอน - ทดสอบย่อย - แบบฝึกหัด - การบ้าน - การถามตอบ - การสังเกตจากการตอบคำถาม ดร.

September 25, 2021